แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3 ... 5
|
1
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง นิวเคลียร์
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:57:13 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.58 น มีความเห็น เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง นิวเคลียร์ ด้านการแพทย์ ใช้ในการวินิจฉัยโรคมากขึ้นนอกเหนือจากการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด กระดูกและสมอง ด้าการเกษตรกรรม ใช้รังสีในการถนอมอาหารไว้ได้นานขึ้นและใช้ทำปุ๋ย ด้านอุตสาหกรรม ใช้รังสีแกมมาในการควบคุมคุณภาพสินค้า ด้านพลังงาน 1.ใช้เป็นแหล่งไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ 2.ใช้เป็นแหน่งพลังงานในเรือเดินสมุทร ด้านธรณีวิทยา ใช้คาร์บอน 14ในการคำนวณหาอายุของซากดึกดำบรรพ์
|
|
|
2
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: โครงการแมนแฮตตัน
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:44:10 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.44 น มีความเห็น โครงการแมนแฮตตัน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา 
|
|
|
3
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หญิงเหล็กกับเรเดียม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:37:57 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.38 น มีความเห็น หญิงเหล็กกับเรเดียม มารี สโกล์ดอฟสกา เกิดในบ้านเลขที่ 16 ถนนเฟรตา กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ พิพิธภัณฑ์ แสดงผลงานและชีวิตของมารี กูรี มารี กูรี เป็นหนึ่งในคณะผู้บุกเบิกในการวิจัยเรื่องกัมมันตภาพรังสีเธอเป็นผู้ค้นพบเรเดียม ซึ่งเปล่งกัมมันตภาพรังสีออกมาโดยธรรมชาติในขณะที่อะตอมแตกตัว เธอศึกษาค้นคว้าวิจัยในยุคที่ยังไม่มีใครรู้จักมหันตภัยของกัมมันตภาพรังสี ต้องดิ้นรนทำงานด้วยความขาดไร้ไม่ว่าจะเป็นเงินทุนสนับสนุน หรือการยอมรับนับถือจากสังคมรอบด้าน ทำงานหนักสายตัวแทบขาดทั้งๆที่ป่วยไข้ในระดับที่ไม่มีมนุษย์คนไหนทานทนได้ และต้องฝืนกระแสความเชื่อประจำยุคนั้นที่ว่า ผู้หญิงไม่มีทางเป็นนักวิทยาศาสตร์ได้ ในท้ายที่สุด มารีกูรี ก็ประกาศศักดิ์ศรีนักวิทยาศาสตร์ให้ผู้คนประจักษ์กันทั่วโลก
|
|
|
4
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ไอโซโทป
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:27:16 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.28 น มีความเห็น การทดลองเสมือนเรื่อง ไอโซโทป ไอโซโทปคืออะตอมของธาตุเดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันแต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ธาตุไฮโดรเจนมีสามชนิด ไฮโดรเจนชนิดที่หนึ่งไม่มีนิวตรอนอยู่ในบริเวณนิวเคลียสเลย เราเรียกไฮโดรเจนชนิดนี้ว่าไฮโดรเจนธรรมดา ไฮโดรเจนชนิดที่สองมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสหนึ่งนิวตรอน เรียกว่าไฮโดรเจนหนักหรือดิวทีเรียม ไฮโดรเจนชนิดที่สามมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสสองนิวตรอน เรียกชื่อว่า Trituum ดิวทีเรียมและทริเซียมเป็นไอโซโทปของไฮโดรเจน
|
|
|
5
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:21:27 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.21 น มีความเห็น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์นิวเคลียร์ สารกัมมันตภาพรังสี คือ ธาตุที่สามารถให้พลังงานออกมาในรูปแบบอนุภาค เช่น แอลฟา บีตาหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีแกมมา เกิดจากการที่มีนิวเคลียสของธาตุเหล่านี้อยู่ในสภาวะไม่เสถียรนิวเคลียสเหล่านี้จะปลดปล่อยพลังงานออกมาจึงกระทั่งนิวเคลียสเหล่านี้อยู่ในสภาวะเสถียร
|
|
|
6
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:54:06 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 12.54 น มีความเห็น การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz ในปี ค.ศ. 1914 ได้มีการทดลองแสดงให้เห็นว่าสถานะนิ่งที่เป็นค่า ๆ ของอิเล็กตรอนในอะตอม (ตามสมมติฐานของบอร์) นั้นมีอยู่จริง จากการทดลองของแฟรงค์และเฮิรตซ์ รูปล่าง แสดงการจัดเครื่องมือการทดลองเมื่ออิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจากไส้หลอดที่ร้อน F จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่น P ระหว่าง F และ P มีกริด G กั้นอยู่ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่จาก F ไป G จะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ V0 แต่เมื่อเคลื่อนที่จาก G ไป P มีศักย์หน่วง (retarding potential) Vr ซึ่งมีค่าเพียงเล็กน้อย อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก F ไป P ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล Ip วัดได้ด้วยแอมมิเตอร์ A ความเร็วของอิเล็กตรอนหลังจากถูกปล่อยออกมาจาก F และเคลื่อนที่มาถึง G คือ 1/2 〖mv〗^2
|
|
|
7
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:25:55 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 12.26 น มีความเห็น เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000 แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความยาวคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission)
|
|
|
8
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:15:49 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 12.16 น มีความเห็น ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เลือกทำ 5 ข้อ ทำได้ 2 ข้อ
|
|
|
9
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: วีดีโอเรื่อง ต้นกำเนิดของแสงเลเซอร์
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:09:09 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 12.10 น มีความเห็น วีดีโอเรื่อง ต้นกำเนิดของแสงเลเซอร์ แสงเลเซอร์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความยาวคลื่นใดความยาวคลื่นหนึ่งในแถบสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งอาจอยู่ในช่วงระหว่างรังสีอินฟาเรดถึงรังสีอุลตร้าไวโอแลตรวมตลอดความยาวคลื่นของแสงที่มองเห็น สารที่นำไปใช้ผลิตแสงเลเซอร์มี 4 ประภทคือ เลเซอร์แก๊ส เลเซอร์ของเหลว เลเซอร์ของแข็ง เลเซอร์ไดโอด
|
|
|
10
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:06:01 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 12.07 น มีความเห็น การทดลองเสมือน เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ใช้ หลักอาฟบาว (Aufbau principle) ในจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1.ใช้หลักของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอน คือ ในแต่ละออร์บิทัลจะบรรจุอิเล็กตรอนได้อย่างมากที่สุด 2 ตัว (มีสปินต่างกัน) ใช้เครื่องหมาย แทนอิเล็กตรอนที่มีสปินขึ้น (spin up) 2.บรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่ำสุดที่ยังว่างก่อน (เรียงลำดับออร์บิทัลตามลูกศรในรูป) จนครบจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมดในอะตอมนั้น การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบนี้จะทำให้อะตอมมีสถานะเสถียรที่สุดเพราะพลังงานรวมทั้งหมดของอะตอมมีค่าต่ำสุด 3.การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากันเช่นออร์บิทัล d จะใช้ กฎของฮุนด์ (Hund's rule) คือ"การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากัน จะบรรจุในลักษณะที่ทำให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด" 4.การบรรจุอิเล็กตรอนที่ทุกๆออร์บิทัล มีระดับพลังงานเป็น degenerate (ระดับพลังงานเท่ากัน) ทุกออร์บิทัลอาจมีอิเล็กตรอนอยู่เต็ม (2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) หรือมีอิเล็กตรอนอยู่เพียงครึ่งเดียว (1 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล)
|
|
|
11
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง โครงสร้างอะตอม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 11:50:05 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 11.51 น มีความเห็น การทดลองเสมือนเรื่อง โครงสร้างอะตอม ค.ศ. 1913 บอร์ (Niels Bohr) ได้ใช้อะตอมของไฮโดรเจนเป็นแบบจำลองของอะตอม อะตอมของไฮโดรเจนมีโปรตอนเป็นนิวเคลียส 1 ตัว และมีอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส 1 ตัว บอร์ได้ตั้งสมมติฐานโดยอาศัยแนวความคิดจากทฤษฎีควอนตัมอธิบายโครงสร้างของไฮโดรเจนและการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจนได้ชัดเจน
|
|
|
12
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: Niels Bohr
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 11:40:58 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 11.41 น มีความเห็น Niels Bohr บอร์ได้เริ่มการศึกษาค้นคว้าทดลองครั้งแรกในปี ค.ศ.1907 เกี่ยวกับเรื่องความตึงของผิวน้ำ และจากผลงานชิ้นนี้บอร์ได้รับรางวัลเหรียญทองจากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งชาติเดนมาร์ก ต่อมาในปี ค.ศ.1911 เกี่ยวกับเรื่องอิเล็กตรอนของโลหะ เพื่อจัดทำเป็นวิทยานิพนธ์สำหรับรับปริญญาเอก ซึ่งเขาก็ประสบความสำเร็จหลังจากที่บอร์ได้เดินทางไปยังประเทศอังกฤษ และได้พบกันเซอร์โจเซฟจอห์น ทอมป์สัน (Sir Joseph John Thompson) ทั้งสองยังได้ร่วมมือกันทำการทดลองค้นคว้าในห้องทดลองคาเวนดิช หาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปีต่อมาเขาได้ทำการทดลองค้นคว้าร่วมกับเออร์เนสรัทเธอร์ฟอร์ด ในเรื่ององค์ประกอบของอะตอม จำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนในธาตุแต่ละชนิด และในตารางธาตุทั้งหมดแต่ละอะตอมจะมีจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่วิ่งโดยรอบ
|
|
|
13
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: วีดีโอ เรื่อง ฟิสิกส์ควอนตัม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:46:13 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 10.46 น มีความเห็น วีดีโอ เรื่อง ฟิสิกส์ควอนตัม นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อว่า แม็กฟลักช์ เรียกกฎใหม่นี้ว่า ทฤษฎีควอนตัม มันคือการค้นพบที่สำคัญทฤษฎีนี้เกิดในปี 1900 เพราะว่าเกิดการทำงานด้านฟิสิกส์มาก มีการค้นพบปรากฎการณ์ใหม่ที่ละเมิดกฎของนิวตัน ตัวอย่างเช่น มาตาม กิวรี ปรับปรุงสิ่งที่เรียกว่า เรเดียม เรเดียมมีคุณสมบัติพิเศษในการเรืองแสง อนุภาคเกิดขึ้นจากความว่างเปล่า เพราะว่าพลังงานเกิดขึ้นจากความว่างเปล่า ในปี 1900 คนคิดว่าสามารถตัดพลังงานไฟฟ้าได้ไม่รู้จบ แม็กฟลังก์บอกว่าพลังงานเกิดขึ้นเป็นกลุ่ม เรียกว่า ควอนตัม แสงมาจากกลุ่มก้อน สสารมีคุณสมบัติเหมือนคลื่น
|
|
|
14
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: แผ่นใสเรื่อง ทฤษฎีควอนตัม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:37:28 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 10.37 น มีความเห็น แผ่นใสเรื่อง ทฤษฎีควอนตัม ในฟิสิกส์เดิม เชื่อว่าอะตอม/โมเลกุล สามารถคาย (ดูดกลืน) ใน ค.ศ. 1900 Max Planck ศึกษารังสีที่ปล่อยจากของแข็งที่ร้อน พบว่า อะตอม/โมเลกุลจะคาย/ดูดกลืนพลังงานเพียงบางค่าเท่านั้น พลังงานน้อยที่สุดที่อะตอม/โมเลกุลคาย/ดูดกลืน ในรูปของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า เรียนว่า ควอนตัม ตามทฤษฏีควอนตัมของพลังค์ อะตอมดูดกลืนพลังงานเท่ากับผลคูณของเลขจำนวนเต็มบางค่ากับ hu (hu,2hu,3hu,…)
|
|
|
15
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การเคลื่อนย้ายมนุษย์ (Teleportation)
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:30:01 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 10.31 น มีความเห็น การเคลื่อนย้ายมนุษย์ (Teleportation) ฟิสิกส์ราชมงคลก็ยังเชื่อว่าสักวันหนึ่งเราจะสามารถเคลื่อนย้ายมนุษย์โดยวิธีเทเลพอเทชั่นได้ มนุษย์ปกติที่มีรูปร่างพอดี ประกอบด้วยอะตอมทั้งหมดประมาณ 1028 อะตอม คือมี เลข 0 อยู่หลังเลข 1 จำนวน 28 ตัว เครื่องจะต้องอ่านข้อมูลของอะตอมทุกๆตำแหน่ง และส่งข้อมูลไปยังที่ใหม่ เพื่อให้อะตอมในที่ใหม่จัดเรียงตัวกันตามข้อมูลนี้ กลายเป็นคนเดิม โดยที่คนเดิมในตำแหน่งเริ่มต้นหายไป (ถ้าไม่หายยุ่งแน่ กลายเป็นสองคน) ความคิดเหล่านี้ดูคล้ายความฝัน ซึ่งเมื่อก่อนไม่เคยมีใครคิดว่าจะส่งเอกสารด้วยเครื่อง แฟกซ์ได้ ไม่เคยมีใครคิดว่า เราจะก็อปปี้เอกสารต้นฉบับ ได้เหมือนกับต้นฉบับทุกประการ ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นเรื่องธรรมดาไป จากนี้จนถึงอนาคตอันไกลโพ้น เราคงต้องไปอาศัยอยู่ ณ ดาวดวงอื่น ดังนั้นการเคลื่อนที่แบบเดิมที่ใช้เวลานาน คงยกเลิกไป และ การเคลื่อนที่แบบเทเลพอเทชั่น จะเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่พวกเราต้องพัฒนาขึ้นให้ได้
|
|
|
16
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg)
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:16:19 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 10.17 น มีความเห็น เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg) เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาทฤษฎีควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "The Uncertainty Principle" หรือ หลักความไม่แน่นอน ซึ่งเป็นหลักการสำคัญหลักการหนึ่งของทฤษฎีควอนตัม และเป็นส่วนที่ทำให้ไอน์สไตน์ ไม่สู้จะสบายใจ เพราะไอน์สไตน์ไม่ชอบความไม่แน่นอน และเป็นอุปสรรคสำคัญสำหรับการรวมแรงพื้นฐาน 4 ชนิด เข้าด้วยกัน ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก เป็นหัวหน้าโครงการสร้างระเบิดอะตอมของเยอรมนี และการดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าโครงการสร้างระเบิดอะตอมของไฮเซนเบิร์กนี้เอง ที่ไปกระตุ้นให้เกิดโครงการสร้างระเบิดอะตอม (คือ โครงการ แมนฮัตตัน) ของประเทศฝ่ายสัมพันธ มิตร จนกระทั่งระเบิดอะตอมถูกสร้างขึ้นมาได้สำเร็จ ถึงแม้จะปรากฏเป็นความจริงภายหลังสงครามว่า ไฮเซนเบิร์ก มิได้มีความมุ่งมั่นอย่างจริงจัง ที่จะเร่งสร้างระเบิดอะตอม ของฝ่ายนาซีเยอรมันให้สำเร็จอย่างรวดเร็ว
|
|
|
17
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: เออร์วิน ชโรดิงเจอร์
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:08:21 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 10.09 น มีความเห็น เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ สมการของนิวตันและสมการคลื่นของชโรดิงเจอร์ เป็นเครื่องมือที่นักศึกษาฟิสิกส์ทั่วโลก ต้องใช้ในการศึกษาสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคที่มีแรงมาเกี่ยวข้องด้วย แต่ต่างกันตรงที่สมการของนิวตัน (ที่รู้จักกันดีในรูปของ F=ma) เป็นสมการที่ใช้สำหรับการเคลื่อนที่ของวัตถุขนาดใหญ่ และเกี่ยวข้องกับความเร็วไม่สูงมาก (เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็วแสง) ซึ่งมักจะเรียกรวมๆ เป็นปัญหาการเคลื่อนที่ของวัตถุในระดับของฟิสิกส์ยุคเก่า หรือ Classical Physics ส่วนสมการคลื่นของชโรดิงเจอร์ เป็นสมการที่ใช้สำหรับการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในระดับควอนตัม หรือ Quantum Mechanics เช่น ระดับอิเล็กตรอนในอะตอม หรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคองค์ประกอบพื้นฐานของวัตถุในจักรวาล
|
|
|
18
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง Photoelectric effect
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 09:57:41 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 9.58 น มีความเห็น การทดลองเสมือนเรื่อง Photoelectric effect ค.ศ.1887 เฮิร์ต (Hertz) ได้ทดลองฉายรังสีอุลตราไวโอเล็ตไปกระทบบนผิวโลหะ พบว่าอิเล็กตรอนอิสระที่โลหะนั้นเรียกอิเล็กตรอนนี้ว่า โฟโตอิเล็กตรอน เมื่อเฮิร์ตเปลี่ยนความถี่ของแสงที่ฉายตกกระทบบนดลหะพบว่า เมื่อลดความถี่ของรังสีให้น้อยลงถึงค่าหนึ่งซึ่งพอดีที่จะทำให้อิเล็กตรอนในอะตอมหลุดเป็นอิสระได้ ถ้าความถี่น้อยกว่าค่าค่านี้จะไม่เกิดโฟโตอิเล็กตรอนขึ้น ความถี่นี้เรียกว่า ความถี่ขีดเริ่ม (threshold frequency) เมื่อเพิ่มความถี่ให้สูงขึ้นพบว่าโฟโตอิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากขึ้น
|
|
|
19
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ปรากฎการณ์คอมป์ตัน
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 09:48:37 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 9.49 น มีความเห็น การทดลองเสมือนเรื่อง ปรากฎการณ์คอมป์ตัน E = พลังงานจลน์รวมเริ่มต้นของโฟตอนก่อนชน หน่วยเป็น Kev E' = พลังงานจลน์ของโฟตอน ที่กระเจิง หน่วยเป็น Kev h = 6.62 x 10-34 จูล.วินาที c = 3 x 108 เมตร/วินาที่ Theta = มุมที่โฟตอนกระเจิง ปรากฏการณ์คอมป์ตันเป็นหลักฐานชัดเจนที่แสดงให้เห็นธรรมชาติของคลื่นแม่ไฟฟ้าว่า มีลักษณะเป็นอนุภาค ทั้งนี้คอมป์ตัน(A.H. Compton) ได้ศึกษาการกระเจิงของรังสีเอกซ์ โดยรังสีเอกซ์ทำอันตรกิริยากับอนุภาคเป้าแล้วเกิดการเบนของรังสีเอกซ์ หรือบางกรณีนอกจากการเบนรังสีแล้วความยาวคลื่นยังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วย กระบวนการนี้เรียนว่า การจระเจิง(scattering)
|
|
|
20
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน ฟิสิกส์ 2000 เรื่อง พฤติกรรมประหลาดทางควอนตัม
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 09:36:18 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 9.36 น มีความเห็น การทดลองเสมือน ฟิสิกส์ 2000 เรื่อง พฤติกรรมประหลาดทางควอนตัม
1 วัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆ จนถึงระดับโมเลกุล และอะตอม มันมีพฤติกรรมที่ไม่เหมือนกับวัตถุทีมีขนาดใหญ่ทั่วไป และเรียกมันว่า ควอนตัมสามารถรวมคลื่น 2 กระบวนให้มีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นได้ ถ้ายอดคลื่นของกระบวนหนึ่งรวมกับยอดคลื่นของอีกกระบวนหนึ่ง หรือท้องคลื่นกระบวนหนึ่งรวมกับท้องคลื่นของอีกกระบวนหนึ่งก็ได้ 2 เรื่องทดลองช่องแคบคู่ คลื่นแสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงกว่าคลื่นน้ำมากเราจึงไม่เห็นการกระเพื่อมขึ้นลงเหมือนกับคลื่นน้ำ แต่จะเห็นเป็นริ้วรอยมืดและสว่าง ซึ่งก็คือการแทรกสอดแบบเสริมและหักล้างไปปรากฏบนฉากแทน 3 เรื่องแทรกสอดของอนุภาค ถ้าปืนกลส่ายไปมา ลูกกระสุนก็วิ่งผ่านช่องแคบกระจายออกเป็น 2 บริเวณ กระสุนที่วิ่งเข้าไปในช่องที่หนึ่ง ไปชนกับกระสุนที่วิ่งเข้ามาที่ช่องสอง และทำให้กระสุนกระเด็นออกไป เกิดเป็นช่องว่างขึ้น กำแพงบริเวณนั้นก็ไม่มีรอยกระสุน
|
|
|
21
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง การแผ่รังสีของวัตถุดำ
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 09:23:24 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 9.23 น มีความเห็น การทดลองเสมือนเรื่อง การแผ่รังสีของวัตถุดำ กฎของสตีฟาน พลังงานต่อหน่วยหน่วยปริมาตรของทุกๆความถี่ที่แผ่ออกมาวัตถุดำ จะแปรผกผันตรงกับกำลังสี่ของอุณหภูมิ U = eσT^4 เมื่อ σ คือ ค่าคงที่ของสตีฟาน = 5.67x10^-18 (v/m^2 k^4) e คือ ความสามารถในการแผ่รังสี ถ้าเป็นวัตถุดำจะมีค่าเท่ากับ 1 กฎของวีน วัตถุทุกชิ้นที่มีอุณหภูมิสูงกว่าองศาสมบูรณ์จะมีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเสมอ เมื่อวัตถุมีอุณหภูมิต่ำรังสีส่วนใหญ่ที่แผ่ออกมามีความถี่ อยู่ในย่านที่มนุษย์มองไม่เห็น
|
|
|
22
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz
|
เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 12:14:52 am
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 00.14 น มีความเห็น การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz ในปี ค.ศ. 1914 ได้มีการทดลองแสดงให้เห็นว่าสถานะนิ่งที่เป็นค่า ๆ ของอิเล็กตรอนในอะตอม (ตามสมมติฐานของบอร์) นั้นมีอยู่จริง เมื่ออิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจากไส้หลอดที่ร้อน F จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่น P ระหว่าง F และ P มีกริด G กั้นอยู่ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่จาก F ไป G จะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ V0 แต่เมื่อเคลื่อนที่จาก G ไป P มีศักย์หน่วง (retarding potential) Vr ซึ่งมีค่าเพียงเล็กน้อย อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก Fไป P ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล Ip วัดได้ด้วยแอมมิเตอร์ A ความเร็วของอิเล็กตรอนหลังจากถูกปล่อยออกมาจาก F และเคลื่อนที่มาถึง G คือ 1/2mv^2 = eV๐ เมื่อมีค่าเพิ่มขึ้นความเร็วของอิเล็กตรอนมากขึ้นด้วย ในขณะที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก F ไปยัง P จะมีการชนกับอะตอมของธาตุที่อยู่ในสภาพเป็นไอ ซึ่งบรรจุไว้ในหลอดทดลอง ถ้าความเร็วของอิเล็กตรอนต่ำ การชนกันจะไม่สามารถกระตุ้นอะตอมได้ และอิเล็กตรอนเพียงแต่เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่เท่านั้น ด้วยเหตุนี้อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่มาถึง G จึงมีพลังงานเหลือมากพอที่จะผ่านศักย์หน่วง Vr ไปยัง P ได้ เมื่อ V๐ เพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปถึง P ได้มากขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มกระแส Ip และต่อมาเพื่อเพิ่ม V๐ จนกระทั่งถึงค่าหนึ่ง อิเล็กตรอนมีพลังงานมากพอที่จะชนกับอะตอมแล้วอะตอมถูกกระตุ้นในกรณีนี้อิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานเกือบทั้งหมด เมื่ออิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปถึง G แล้วจะไม่มีพลังงานพอที่จะผ่านศักย์หน่วง Vr ดังนั้นกระแสจะลดลงอย่างรวดเร็ว และต่อมาเมื่อ V๐ เพิ่มขึ้นอีก กระแส Ip จะเพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
|
|
|
23
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: การทดลองของ (Michelson-Morley Experiment)
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 11:52:31 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 23.51 น มีความเห็น การทดลองของ (Michelson-Morley Experiment) ลำแสงที่สะท้อนจากกระจก M1 ผ่านกระจกแยก BS และทะลุผ่านไปยังฉาก S ส่วนลำแสงที่สะท้อนจากกระจก M2 ไปที่กระจกแยก BS และสะท้อนไปที่ฉาก S เกิดการแทรกสอดเป็นริ้วรอยมืดสว่างบนฉาก S เลนส์ DL ช่วยขยายริ้วรอยแทรกสอดให้มีขนาดใหญ่ มองเห็นได้ง่ายขึ้น L = แสงเลเซอร์; DL = เลนส์เว้า ; BS = กระจกแยกแสง; M1 = กระจก M1; M2 = กระจก M2; S = ฉาก โต๊ะจะหมุน เมื่อวางเมาส์ลงบนทรงกลมซ้าย และค้างไว้ หรือคลิกเมาส์ที่ทรงกลมกลาง โต๊ะหมุนตามเข็มนาฬิกา และ คลิกเมาส์ที่ทรงกลมขวา โต๊ะหมุนทวนเข็มนาฬิกา การทดลองของไมเคิลสันและมอร์เลย์ พิสูจน์ได้ดังนี้ 1.คลื่นแสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วcมีค่าเท่ากับ3*10 8 เมตร/วินาที 2.ถ้าวัตถุที่เคลื่อนที่นี้เป็นโลก เราจะต้องหาความเร็วสัมบูรณ์ของโลกผ่านอีเทอร์โดยการวัดสัญญาณแสงที่กระจายผ่านอีเทอร์
|
|
|
24
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: การทดลองของทอมกับเจน
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 11:38:55 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 23.39 น มีความเห็น การทดลองของทอมกับเจน 1.เมื่อเปลี่ยนความเร็วของยานอวกาศ ตอบ จะเห็นว่ายานอวกาศมีความเร็วมากขึ้นเท่าใดอายุของเจนและทอมก็ยิ่งมีอายุต่างกันมากขึ้นโดยเจนจะมีอายุน้อยกว่าทอมเมื่อกลับลงสู่พื้นโลก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอัตราความเร็วของยานอวกาศด้วย 2.ส่งยานอวกาศไปยังดวงดาว 2 แห่ง แห่งแรกอยู่ใกล้ แห่งทีสองอยู่ไกล ด้วยความเร็วที่เท่ากัน ตอบ ดวงดาวที่อยู่ใกล้อายุของเจนและทอมจะมีความต่างกันไม่มากนัก แต่ถ้าเราไปยังดวงดาวที่อยู่ไกล อายุของเจนและทอมก็ยิ่งมีความแตกต่างกันมากขึ้นโดยเจนจะมีอายุน้อยกว่าทอมเมื่อกลับลงสู่พื้นโลก แสดงให้เห็นว่าระยะทางมีส่วนที่ทำให้อายุ ของเจนและทอมแตกต่างกันแน่นอน 3.ถ้าคุณตั้งอายุเริ่มต้นของเจนและทอมให้เท่ากัน คุณจะต้องตั้งความเร็วและระยะทางอย่างไร ให้ทอมกับเจนมีอายุใกล้เคียงกันเมื่อยานอวกาศกลับถีงพื้นโลก ตอบ ต้องลดอัตราความเร็วของยานอวกาศให้น้อยที่สุด และไปยังดวงดาวที่อยู่ใกล้ที่สุด จึงจะทำให้ อายุของทั้งสองมีความใกล้เคียงกันมากที่สุด
|
|
|
25
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: แผ่นใสทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 11:15:33 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 23.15 น มีความเห็น แผ่นใสทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
26
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ฟิสิกส์ของกาลเวลา
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 11:01:12 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 23.01 น มีความเห็น ฟิสิกส์ของกาลเวลา แนวคิดเกี่ยวกับเวลา -ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) -อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) -สตีเฟน ฮอว์คิง (Stephen Hawking) เวลาตามแนวคิดของนิวตัน -เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง -เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง -เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ -สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ -เวลาอันเป็นจิตวิสัย -สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา -ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์
|
|
|
27
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: วีดีโอทฤษฎีสัมพัทธภาพ 1
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 10:55:23 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 22.56 น มีความเห็น วีดีโอทฤษฎีสัมพัทธภาพ 1 1892-1990 มีการเพิ่มขึ้นอีก 15 วินาที แสดงให้เห็นว่าโลกหมุนช้าลง 0.83 วินาทีต่อปี ทุกวันนี้คุณสามารถมีนาฬาปรมาณูบนข้อมือของคุณได้ นาฬิกาปรมาณู ยังช่วยพิสูตร ทฤษฎีของไอส์ไตน์ทฤษฎีสัมพันทภาพของเขาบอกว่า หลังจากหลายพันปีของการดิ้นรนเพื่อความแม้นยำสูงสุดเรากำลังวัดอะไรบางอย่างที่ไม่มีความเป็นที่สุดแต่อย่างใดเวลาตามความเป็นจริงของไอส์ไตน์ เดินช้าลงด้วยความรวจเร็ว
|
|
|
28
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.สุวิทย์ ชวเดช
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 10:53:34 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 22.54 น มีความเห็น ทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.สุวิทย์ ชวเดช ฟิโซได้นำวิธีการนี้ไปใช้วัดอัตราเร็วของแสง โดยเขาเริ่มต้นทำการทดลองตั้งแต่ตอนล้อฟันเฟืองหยุดยิ่งแล้วค่อยๆ เพิ่มอัตราเร็วของล้อฟันเฟืองครั้งละ น้อยๆ จนกระทั่งเริ่มมองเห็นแสงสะท้อนที่ผ่านร่องฟันเฟืองออกมา หลังจากนั้นเขาก็นำค่าต่างๆ ที่ได้จากการทดลองไปคำนวณหาอัตราเร็วของแสงต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ ระยะทางการเดินทางของแสงที่ เท่ากับ 10 ไมล์ขณะที่เราเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นในตอนเช้า แท้ที่จริงแล้วก็คือ การที่เราเห็นดวงอาทิตย์เมื่อเวลา 8 นาที ที่ผ่านมาแล้ว
|
|
|
29
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ไอน์สไตน์อธิบายความสัมพันธ์ของมวลกับพลังงาน
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 10:04:05 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 22.04 น มีความเห็น ไอน์สไตน์อธิบายความสัมพันธ์ของมวลกับพลังงาน It followed from the special theory of relativity that mass and energy are both but different อาการของสิ่งเดียวกัน a somewhat unfamilar conception for the average mind. Furthermore, the equation E is equal to m c-ยกกำลังสอง, in which energy is put equal to mass, multiplied by the square of theความเร็วของแสง, showed that very small amounts of mass may be converted into a very large ประริมาณของพลังงาน and vice versa. The mass and energy were in fact เท่ากัน, according to the formula mentioned before. This was demonstrated by Cockcroft and Walton in 1932, experimentally."
|
|
|
30
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ชีวิตการทำงานของไอน์สไตน์
|
เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 09:55:41 pm
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 21.56 น มีความเห็น ชีวิตการทำงานของไอน์สไตน์ ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ในช่วงศตวรรษที่ 19-20 ไอน์สไตน์ถือว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด และอาจกล่าวได้ว่า เขาคือผู้ยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยระเบิดปรมาณูอันทรงอานุภาพแห่งการทำลายล้าง เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้น ไอน์สไตน์ ได้ส่งจดหมายฉบับหนึ่งถึงประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์ (Franklin Delano Roosevelt) เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของ แร่ยูเรเนียมที่สามารถนำมาสร้างลูกระเบิดพลังงานการทำลายสร้างรุนแรง เพื่อบังคับให้ญี่ปุ่นประกาศแพ้สงคราม และนำสันติภาพ มาสู่โลกอีกครั้งหนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงตกลงทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกของโลกลงที่เมืองฮิโรชิมา (Hiroshima) ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งส่งผลให้คนเสียชีวิตทันทีกว่า 60,000 คน และเสียชีวิตภายหลังอีกกว่า 100,000 คน
|
|
|
|