หน้า 1 จาก 1073
สารบาญ
คำปรารภ (1)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์ (9)
สารบาญ (11)
ความนำ : สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน 1
ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา
ตอน 1 ชีวิตคืออะไร?
บทที่ 1 ขันธ์ 5 15
บทที่ 2 อายตนะ 6 33
ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ?
บทที่ 3 ไตรลักษณ์ 67
ตอน 3 ชีวิตเป็นไปอย่างไร ?
บทที่ 4 ปฏิจจสมุปบาท 79
บทที่ 5 กรรม 151
ตอน 4 ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ?
บทที่ 6 นิพพาน 223
บทที่ 7 ประเภทและระดับแห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน 261
บทที่ 8 สมถะ วิปัสสนา ; เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ 305
บทที่ 9 หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน 323
บทที่ 10 บทสรุป ข้อควรทราบเกี่ยวกับนิพพาน 371
บทที่ 11 ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน 395
บทที่ 12 ศีลกับเจตนารมณ์ของสังคม 431
บทที่ 13 เรื่องเหนือสามัญวิสัย : อิทธิปาฎิหาริย์ และเทวดา 455
บทที่ 14 ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ : ตัณหา-ฉันทะ 485
บทที่ 15 ความสุข 529
ภาค 2 มัชฌิมาปฏิปทา
ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอย่างไร?
บทที่ 16 บทนำของมัชฌิมาปฏิปทา 569
บทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา 1 : ปรโตโฆสะที่ดี- กัลยาณมิตร 621
บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา 2 : โยนิโสมนสิการ 667
บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา 733
บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศีล 757
บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ 799
บทสรุป
บทที่ 22 อริยสัจ 4 893
บันทึกของผู้เขียน 925
บรรณานุกรม 935
ดัชนี 941
สารบาญพิสดาร
"พุทธธรรม"
คำปรารภ (1)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์ (9)
สารบาญ (11)
สารบาญพิสดาร (13)
-สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน 1
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม 6
ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา
ตอน 1 ชีวิตคืออะไร? 15-65
บทที่ 1 ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต 15-31
-ตัวสภาวะ 15
-ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ 24
-ขันธ์ 5 กับอุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิตกับชีวิตซึ่งเป็นปัญหา 27
-คุณค่าทางจริยธรรม 28
-บันทึกพิเศษท้ายบท : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับขันธ์ 5 30
บทที่ 2 อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยโลก 33-65
-ตัวสภาวะ 34
-ประเภทและระดับของความรู้ 42
ก. จำแนกโดยสภาวะ หรือโดยธรรมชาติของความรู้ 42
ข. จำแนกโดยทางรับรู้ 45
ค. จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา 49
ง. จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์ 53
-ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้ 54
ก. สัจจะ 2 ระดับ 54
ข. วิปลาส 3 56
-พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ 57
-คุณค่าทางจริยธรรม 63
ตอนที่ 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ? 67-78
บทที่ 3 ไตรลักษณ์ : ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่างของสิ่งทั้งปวง 67-78
-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ 67
-คุณค่าทางจริยธรรม 71
ตอนที่ 3 ชีวิตเป็นอย่างไร ? 79-222
บทที่ 4 ปฏิจจสมุปบาท : การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันๆ จึงเกิดมี 79-150
-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ 79
1. ฐานะและความสำคัญ 79
2. ตัวบทและแบบความสัมพันธ์ในปฏิจจสมุปบาท 81
3. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท 84
4. ความหมายอันสรุป เพื่อความเข้าใจเบื้องต้น 87
5. คำอธิบายตามแบบ 96
ก. หัวข้อและโครงรูป 96
ข. คำจำกัดความองค์ประกอบหรือหัวข้อตามลำดับ 97
ค. ตัวอย่างคำอธิบายแบบช่วงกว้างที่สุด 99
6. ความหมายในชีวิตประจำวัน 107
-ความหมายเชิงอธิบาย 109
-คำอธิบายแสดงความสัมพันธ์อย่างง่าย 110
-ตัวอย่างกรณีปลีกย่อยในชีวิตประจำวัน 119
7. ความหมายลึกซึ้งขององค์ธรรมบางข้อ 121
-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา 129
-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะปัจจยาการทางสังคม 137
-หมายเหตุ : การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท 140
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู 143
บันทึกที่ 2 : เกิดและตายแบบปัจจุบัน 145
บันทึกที่ 3 : ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม 146
บันทึกที่ 4 : ปัญหาการแปลคำว่า "นิโรธ" 149
บันทึกที่ 5 : ความหมายย่อขององค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท 150
บทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรมที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท 151-222
-ความนำ 151
-กฎแห่งกรรม 152
-ความหมายและประเภทของกรรม 157
-ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว 162
ก. ความหมายของกุศลและอกุศล 163
ข. ข้อควรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลแลอกุศล 167
1) กุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่กันได้ 167
2) บุญและบาป กับ กุศล และอกุศล 168
ค. เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว 171
-ปัญหาเกี่ยวกับการให้ผลของกรรมดี-กรรมชั่ว 187
-ผลกรรมในช่วงกว้างไกล 193
-ข้อควรทราบพิเศษเพื่อป้องกันความเข้าใจผิด 204
1) สุขทุกข์ ใครทำให้ 204
2) เชื่ออย่างไรผิดหลักกรรม 205
3) กรรมชำระล้างได้อย่างไร 207
4) กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ 209
-คุณค่าทางจริยธรรม 213
-บันทึกพิเศษท้ายบท : กรรม12 219
ตอนที่ 4 ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร 223-565
บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน : ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้จากชีวิตนี้ 223-260
-กระบวนธรรมดับทุกข์ หรือปฏิจจสมุปบาทนิโรจวาร 224
-ภาวะแห่งนิพพาน 229
-ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน 241
1. ภาวะทางปัญญา 242
2. ภาวะทางจิต 244
3. ภาวะทางความประพฤติ หรือการดำเนินชีวิต 250
บทที่ 7 ประเภทและระดับแห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน 261-303
1. ประเภทและระดับของนิพพาน 261
2. ประเภทและระดับของผู้บรรลุนิพพาน 279
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทที่ 8 ข้อควรทราบเพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจ 305-322
1. สมถะ-วิปัสสนา 305
2. เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ 308
- บันทึกพิเศษท้ายบท : ความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตาและนิพพาน 321
บทที่ 9 หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน 323-370
ก) หลักทั่วไป 323
ข) หลักมาตรฐานด้านสมถะ 333
ค) หลักมาตรฐานด้านวิปัสสนา 343
ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเป็นระบบ (สรุปความวิสุทธิมัคค์ 951 หน้า ) 359
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทที่ 10 บทสรุปเรื่องเกี่ยวกับนิพพาน 371-393
-คุณค่าและลักษณะที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน 371
- จุดที่มักเขว หรือเข้าใจพลาดเกี่ยวกับนิพพาน 376
- ปัญหาสำคัญเกี่ยวกับนิพพาน 381
บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน 395-430
-ข้อความทั่วไป และคุณสมบัติโดยสรุป 395
- ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสำคัญของบุคคลโสดาบัน 417
-บันทึกพิเศษท้ายบท :
บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม 431-454
-สรุปความ 444
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทที่ 13 บทความประกอบที่ 3 : อิทธิปาฏิหาริย์ และเทวดา 455-483
-อิทธิปาฏิหาริย์ 459
-เทวดา 466
-สรุปวิธีปฏิบัติ 472
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทที่ 14 บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ 485-528
-ความเข้าใจเบื้องต้น เพื่อแก้และกันความสับสน 486
-แรงจูงใจในพุทธธรรม : ตัณหา-ฉันทะ 490
-ข้อพิจารณาเชิงซับซ้อน 504
บทสรุป 519
บทที่ 15 : บทความประกอบที่ 5 : ความสุข 529-565
-ความสำคัญของความสุข ในหลักพุทธธรรม 529
-ขั้นหรือประเภทต่างๆ ของความสุข 530
-บทสรุป : วิธีปฏิบัติต่อความสุข 557
-บันทึกพิเศษท้ายบท :
ภาค 2 มัชฌิมาปฏิปทา
ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางตามกฎธรรมชาติ
หรือทางสายกลาง
ตอนที่ 5 ชีวิตควรเป็นอย่างไร ? 569-892
บทที่ 16 บทนำของมัชฌิมาปฏิปทา 569-619
-มัชฌิมาปฏิปทาต่อเนื่องจากมัชเฌนธรรมเทศนา 569
1. จากปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร สู่มัชฌิมาปฏิปทาหรือมรรค 578
2. กระบวนการกุศลธรรมนำสู่วิมุตติ 578
3. กระบวนการปฏิบัติแบบลำดับขั้นตอน 578
-ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา 581
-บันทึกพิเศษท้ายบท 4 เรื่อง
บทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา 1 : ปรโตโฆสะที่ดี 621-665
-ปัจจัยแห่งสัมมาทิฎฐิ 2 621
-ปรโตโฆสะ- กัลยาณมิตร : วิธีการแห่งศรัทธา (องค์ประกอบภายนอก) - ความหมาย 622
-ความสำคัญของการมีกัลยาณมิตร 623
-คุณสมบัติของกัลยาณมิตร 627
-การทำหน้าที่ของกัลยาณมิตร : จากปรโตโฆสะ สู่โยนิโสมนสิการ 641
-หลักศรัทธาโดยสรุป 647
-พุทธพจน์แสดงหลักศรัทธา 650
บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฺฌิมาปฏิปทา 2 : โยนิโสมนสิการ 667-732
-โยนิโสมนสิการ : วิธีการแห่งปัญญา (องค์ประกอบภายใน) 667
-ความสำคัญของโยนิโสมนสิการ 669
-ความหมายของโยนิโสมนสิการ 675
-วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 675
-เตรียมเข้าสู่มัชฌิมาปฏิปทา 727
-พระรัตนตรัย 729
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา 733-756
1. สัมมาทิฎฐิ 733
2. สัมมาสังกัปปะ 748
บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศีล 757-797
3. 4. 5. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ : คำจำกัดความและความหมาย 757
-เหตุใดความหมายของศีลจึงมีรูปลักษณะเป็นคำปฏิเสธ 761
-ศีลสำหรับประชาชน 767
ก. ศีลพื้นฐาน 768
ข. ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม 774
-หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ 778
ก. การแสวงหาและรักษาทรัพย์ 785
ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถ์ควรมี 786
ค. การใช้จ่ายทรัพย์ 787
* ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับ ทรัพย์ ชีวิตดีงาม สังคม ชีวิตพระ ชีวิตคฤหัสถ์ 789
บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ 799-891
6. สัมมาวายามะ 799
-คำจำกัดความและความหมาย 799
-ความสำคัญและขอบเขตความสำคัญของความเพียร 800
-การปฏิบัติธรรมอาศัยสภาพแวดล้อม 802
7. สัมมาสติ 803
-คำจำกัดความ 803
-สติในฐานะอัปปมาทธรรม 804
-สติพิจารณาโดยคุณค่าทางสังคม 807
-บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปัญญา หรือการกำจัดอาสวกิเลส 808
-สติปัฏฐานในฐานะสัมมาสติ 810
-สาระสำคัญของสติปัฏฐาน 812
-เหตุใดสติที่ตามทันปัจจุบัน จึงเป็นหลักสำคัญของวิปัสสนา 819
8. สัมมาสมาธิ 824
1) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ 870
2) องค์ประกอบร่วมของสมาธิ : องค์ฌาณ 872
3) เครื่องวัดความพร้อม : อินทรีย์ 875
4) สนามปฏิบัติการทางปัญญา : โพชฌงค์ 879
5) ความพร้อมเพรียงขององค์มรรค : ธรรมสามัคคี 885
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บทสรุป
บทที่ 22 อริยสัจ 4 893-924
บันทึกของผู้เขียน 925
บรรณานุกรม 935
ดัชนี 941
แทรกเพิ่ม
บทที่ 3
-คำอธิบายไตรลักษณ์ตามหลักวิชาในคัมภีร์ 70/1
-คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์ 70/36
-พุทธพจน์เกี่ยวกับไตรลักษณ์ 78/1
บทที่ 4
บันทึกที่ 6 : ความหมายของภวตัณหาและวิภวตัณหา 150/1
ดัชนีภาคผนวก 1067
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ถัดไป > สุดท้าย >> |