ทฤษฎีบทการกระจายของเฮวีไซค์ (Heavesides Expansion Theorem) |
เขียนโดย รองศาสตราจารย์วิรัตน์ ชาญศิริรัตนา
|
Sunday, 27 May 2007 |
ในกรณีที่เราจะหาปริพันธ์หรือหาผลการแปลงลาปลาซผกผันของ F(s)/G(s)โดยที่ทั้งคู่เป็นฟังก์ชันพหุนามใน เทอมของ s ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริงและไม่มีตัวประกอบร่วมกันซึ่งระดับขั้น (degree) ของ F(s) ต้องน้อยกว่าระดับขั้นของ G (s) นั้น เราจะหาผลลัพธ์ดังกล่าวได้โดยขั้นแรกจะแยก F(s)/G(s) ออกเป็นผลบวกของเศษส่วนย่อย การหาค่าคงตัวที่ปรากฏเป็นตัวเศษของแต่ละเศษส่วนย่อยนั้นอาจจะทำได้โดยการเทียบสัมประสิทธิ์หรือการแทนค่าของตัว s วิธีการหาค่าคงตัวดังกล่าวบางครั้งค่อนข้างจะยุ่งยากดังนั้นในที่นี้จะขอกล่าวถึงการหาค่าคงตัวโดยใช้ทฤษฎีบทการกระจายของเฮวีไซค์ (Heaveside ’s Expansion Theorem) ดังนี้
ในการพิสูจน์ทฤษฎีบทเราจะให้ W(s) เป็นผลรวมของเศษส่วนย่อยอื่น ๆ ของ
F(s)/G(s) ที่เหลือทั้งหมดจากเงื่อนไขในทฤษฎีบทนั้น ๆ
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม.........
|
แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Sunday, 27 May 2007 )
|
|
ข้อควรระวังในการใช้บทนิยามและทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์ |
เขียนโดย รองศาสตราจารย์วิรัตน์ ชาญศิริรัตนา
|
Sunday, 27 May 2007 |
การเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์เรามักนำบทนิยามและทฤษฎีบทต่าง ๆ ไปใช้ ผู้เขียนใคร่เสนอให้นำไปใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากบทนิยามและทฤษฎีบทต่าง ๆ เหล่านั้นล้วนมีเงื่อนไขหรือข้อจำกัดบางอย่างในตัวของมัน ถ้าเรานำไปใช้อย่างไม่ระมัดระวังอาจจะทำให้เกิดความขัดแย้ง ความผิดพลาดหรือความไม่สมเหตุสมผลต่าง ๆ ขึ้นได้ เช่นนักคณิตศาสตร์ท่านหนึ่งชื่อออยเลอร์ (Euler) ได้พบข้อขัดแย้งที่เกิดจากการนำทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem) ไปใช้ในการกระจาย (1-2)-1 ซึ่งมีผลดังนี้
(1-2)-1 = 1 + 2 + 4 + 8 + 16 + … แต่ (1-2)-1 = -1
ดังนั้น -1 = 1 + 2 + 4 + 8 + 16 + … ซึ่งเป็นไปไม่ได้
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม.........
|
แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Sunday, 27 May 2007 )
|
|
เขียนโดย รองศาสตราจารย์วิรัตน์ ชาญศิริรัตนา
|
Sunday, 27 May 2007 |

อ่านข้อมูลเพิ่มเติม........
|
แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Sunday, 27 May 2007 )
|
|
กฎโลปิตาล (LHopitals Rule) |
เขียนโดย รองศาสตราจารย์วิรัตน์ ชาญศิริรัตนา
|
Friday, 25 May 2007 |
ท่านผู้อ่านที่เคยเรียนวิชาแคลคูลัสมาบ้างแล้ว ท่านคงจะรู้จัก “กฎโลปิตาล” เป็นอย่างดี ผู้เขียนจึงใคร่เสนอข้อพึงระวังในการใช้ กฎโลปิตาล ดังนี้
กฎโลปิตาลเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ช่วยให้เราหาค่าลิมิตที่อยู่ในรูปแบบยังไม่กำหนด (Indeterminate Forms) ได้โดยง่าย ๆ เรามักจะใช้กฎโลปิตาลในลักษณะดังนี้ คือ
|
แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Wednesday, 08 August 2007 )
|
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
|
|
|
|
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 21 22 หน้าถัดไป > หน้าสุดท้าย >>
|